Wednesday, November 23, 2011

Chapter 7 PHPMYADMIN part 2.

จากตอนที่6 เราได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการฐานข้อมูลเบื้องต้นแล้ว วันนี้ ผมจะมาย้อนทำความเข้าใจกับคุณลักษณะของการตั้งชื่อฟิลด์ในตารางที่เรากำหนด กัน ซึ่งก็จะนำเสนอแบบพื้น ๆ ที่เข้าใจง่ายแล้วกันนะครับ จากภาพนี้เราจะเห็นว่า ในตาราง employee มีการสร้างฟิลด์ 5 ตัวด้วยกัน ซึ่งประกอบไปด้วย id,name,email,phone และ salary หลัก การตั้งชื่อฟิลด์ก็ง่ายๆ  ครับ รานึกถึงแค่ว่าเราอยากเก็บข้อมูล และสื่อไปทางใด เช่น ผมตั้งคำว่า name ก็หมายถึงชื่อ email ก็หมายถึง เบอร์โทรศัพท์ หรือ salary ก็คือเงินเดือน หลายท่านที่เขียนโปรแกรม หรือศึกษา คงจะทราบจุดนี้ดี ว่าควรตั้งชื่ออย่างไร กฏง่าย ๆ ครับก็คือ ในชื่อฟิลด์ที่ตั้ง จะไม่ีอักขระใด ๆ ที่นอกเหนือกลุ่มอักษร...

Part 6 with Mysql and phpmyadmin.

ห่างหายไปนานครับ ไม่ได้เข้ามาลงบทความต่อเนื่อง เหตุเพราะกู้ภัยที่บ้านครับ ยังท่วมอยู่ ไร้วี่แววที่จะลด บางส่วนในกรุงเทพลดจนน่าอิจฉา อ่ะมาถึงตอนที่ 6 นี้ เรามาทำความรู้จักกับ phpmyadmin และ mysql กันหน่อยครับ phpmyadmin เป็นโปรแกรม app ตัวนึงที่ติดมาพร้อมกับ appserv ที่เราลงครั้งแรก โปรแกรมตัวนี้จะทำหน้าที่กำหนด ที่อยู่ของฐานข้อมูลว่าจะเอาอารายไปใส่ลงไป เช่น เราต้องการทำงานด้านจัดเก็บข้อมูลของพนักงาน ก็สร้างฐานข้่อมูลที่สอดคล้องกับที่เราจะทำ เช่น Empolyee ซึ่งเป็นบ้านหลังใหญ่ ต่อมากำหนดฟิลด์ให้กับบ้านหลังนี้ เช่น ชื่อพนักงาน ตำแหน่ง อีเมล์ เป็นต้น WORKSHOP กันเลย เมื่อท่านได้ลง Appserv เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้เปิด IE ขึ้นมาเลยครับ แล้วพิมพ์ตรง...

Part 5 PHP with Appserve.

ในบทนี้ผมขอติ้งต่างอีกครั้งนะครับ ว่าท่านได้ติดตั้ง Appserve เป็นที่เรียบร้แยแล้วนะครับ ท่านที่ไม่มีโปรแกรมตัวนี้ หรือว่า ติดตั้งไม่เป็น PM มาได้เลย สัง เกตุง่ายๆ ครับ หากท่านติดตั้งเรียบร้อยแล้วที่ไดรฟ์ C ของท่านผู้อ่าน จะมีโฟลเดอร์ชื่อ Appserve โดยเมื่อคลิกภายใน จะพบอีกหลาย Folder ด้วยกัน หัวใจสำคัญจะมีแค่ 2 โฟลเดอร์เท่านั้นครับ ก็คือ www และ mysql www จะเป็นห้องใช้สำหรับการเก็บไฟล์เว็บไซต์ทั้งหมด ส่วน mysql เข้าไปภายในแล้วจะมีห้อง data ซึ่งเป็นห้องที่ใช้สำหรับการเก็บไฟล์ฐานข้อมูล และตารางที่ใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งหลายทั้งปวง (ซึ่งจะขอกล่าวในตอนต่อไป) ตัวอย่าง <? echo "Welcome to Thailand"; ?> โดยให้ทำการบันทึกไฟล์นี้ชื่อว่า test.php ในไดรฟ์ C ห้อง www จากนั้นเปิด Browser ขึ้นมา อาจจะเป็น IE, Chrome หรืออารายก็ได้ที่ท่านผู้อ่านถนัดแล้วพิมพ์ในช่้อง Address Bar http://localhost/test.php หน้าจอจะทำการประมวลผลและแสดงข้อความ...

Section 4 regarding PHP and HTML.

าท่าน ที่เคยเขียน PHP จนขั้นใช้งานได้บ้างแล้ว คงไม่สงสัยกัยหัวข้อนี้แน่นอน แต่ท่านผู้อ่านที่กำลังเริ่มคงจะเริ่มตั้งข้อสงสัยกับตัวเองว่า "มันไปเกี่ยวข้องอะไรอีกล่ะ ในเมื่อตอนนี้ฉันมาเรียน PHP อยู่ " 555+ ไม่ต้องกังวลครับ มันเป็นเทคนิคง่ายๆ  ที่เอามาผสมกลมกลืนกันได้ไม่ยาก แต่... ผม แนะนำว่า ท่านผู้อ่านลองหาคำสั่งพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับ HTML มาอ่านก่อนดีกว่าครับ เพื่อที่จะเข้าใจมากขึ้น เพราะการทำงานกับ PHP จะเป็นไปอย่างคล่องตัว ทีนี้เอาล่ะสิ จะหาอ่านจากไหนดี ผมหาจากอาจารย์กรูมาให้ส่วนหนึ่งครับ (google.co.th) ก็จะมี http://www.ohocode.com/index.php?menu=2&ds=learning-display&type=09&learningid=nj0Mg4xcEG4WopQK http://www.webthaidd.com/html/ ลอง่านดูครับ ผมว่าไม่ยากครับ และไม่เกิน ชั่วโมง ท่านผู้อ่านก็จะเข้าใจมากขึ้น ผมยกตัวอย่าง อย่างตอนที่ 1 และ ตอนที่ 3 ที่ผมใช้คำสั่ง...

(Part 3) variables and constants (Constant & Va.

ต่อกันเลยและกันครับ สำหรับตอนที่ 3 ผมจะนำเสนอในเรื่องของการกำหนดค่า ทั้งค่าคงที่ และความหมายของตัวแปร เอา แบบพื้น  ๆ พอเข้าใจเลยละกันครับ เพราะเชื่อว่า ถ้าท่านที่กำลังอ่านอยู่ขณะนี้ ทำความเข้าใจ โดยใช้เวลาไม่นานต่อจากนี้ไป รับรองเอาไปต่อยอดของความหมาย ค่าคงที่และตัวแปรได้อย่างคล่องตัวและรวดเร็วแน่นอน อะไรคือค่าคงที่ ค่าคงที่ในนิยามที่ผมจะบอกท่านผู้อ่านก็คือ ค่าที่ถูกกำหนดตายตัวในการเขียนโปรแกรม อยู่กะที่ นิ่ง ไม่เคลื่อนไหวอะไรเลย เช่น 1. เมื่อต้องการกำหนดค่าใด ๆ ก็ตามที่แทนด้วยตัวอักษร ตัวเลข (ที่ไม่ใช่ในการคำนวณ) สามารถกำหนดได้ดังนี้ $name = "John Mac"; หรือ $nohome = "45/2"; อธิบาย : การตั้งตั้งค่าคงที่ทุกครั้ง ให้ขึ้นต้นด้วยเครื่อง $ ห้ามลืมนะครับ ต้องขึ้นต้นนำหน้าเสมอ และต่ด้วยชื่อที่เราต้องการสื่อ ตามตัวอย่างผมตั้งใจจะตั้งค่าตัวนี้ให้เป็นคำว่า "ชื่อ" ก็คือ name แต่จริงๆ...

Getting Started with PHP (Part 2).

อ้างอิงจาก http://xn--php-wnl6bzcb.blogspot.com/2011/11/getting-started-with-php-part-1.html (เริ่มต้นกับ PHP ตอนที่ 1) ไม่รอช้า เดี๋ยวผู้ที่กำลังเริ่มต้นร้อนใจ อยากจับงานไวไว เอาเป็นว่า ในตนที่ 2 เรามาทำความรู้จักกับ PHP ให้มากขึ้นและกันครับ เริ่มเลย เริ่มจับเริ่มเขียน PHP จริง ๆ แล้ว ตอนที่ 2 นี้ ถ้าท่านที่กำลังคันไม้คันมือ อยากรู้และอยากทำความรู้จักกับมัน ยังไม่ต้องใช้ Editor ของ Macromedia Dreamweaver ก็ได้ครับ เปิดใช้ Notepad ก่อนก็ได้ เพราะขั้นตอนการเขียนเหมือนกัน (ต่างกันตรงที่ Dreamweaver จะบอก line ที่แสดงผลผิดพลาดได้อย่างชัดเจนเท่านั้น) แต่ถ้าใครถนัด Editplus ก็ไม่ว่ากัน ส่วนผมถนัดแค่ Dream กับ Notepad ครับ อิอิ เปิด Notepad ขึ้นมาเลยครับ เอาตัวอย่าง Workshop แรกก่อนและกัน ให้ท่านพิมพ์ตามนี้ครับ หมายเหตุ ถ้าท่านใดใช้ Editor ของ Dreamweaver จะสังเกตุว่า เครื่องหมาย <?...

Getting Started with PHP (Part 1).

ความ ตั้งใจมานานที่จะมีบอร์ดเพื่อเป็นความรู้สำหรับผู้ที่เริ่มต้นกับ PHP ต้องบอกก่อนนะครับ บทความในตอนที่ 1 นี้ เป้นเฉพาะผู้ที่เริ่มต้นจริง ๆ อาจจะเพราะคลำทางไม่ถูก ไม่รู้จะเริ่มต้นยังไง อานได้ในตอนที่ 1 ก่อนนะครับ ก่อนจะข้ามไปบทต่อไป ผมจะเขียนให้ง่ายที่สุด เนื้อหา ข้อความ อาจจะอ้างอิงแหล่งความรู้ื่อื่น ๆ แต่จะปรับให้เห็นภาพอย่างชัดเจนมากที่สุดครับ PHP คืออะไร ผม ว่าเป็นคำถามยอดฮิตมาก ติ๊งต่างไปแล้วกันว่า ท่านที่พร้อมจะเร่มต้นก็คงเข้าใจคำว่าเขียนโปรแกรมมาบ้างแล้ว แต่ไม่ทราบว่า PHP ทำงานอย่างไร อธิบายสั้น ๆ ครับ PHP คือ โปรแกรมภาษาตัวนึงที่ทำงานกับ Web Application ให้การทำงานบนเว็บไซต์เกิดการตอบสนองทั้งผู้ใช้งานและเจ้าของเว็บนั้น (ง่ายไปมั้ยนี่) เริ่มแรกกับ...

 
Design by I Love PHP